Connect with us
02-464-5575
info@nutramedica.co.th
โรคข้อเข่าเสื่อมสามารถเกิดได้จากหลากหลายปัจจัยอาทิเช่น พันธุกรรม อายุ เพศ เคยประสบอุบัติเหตุและบาดเจ็บมาก่อน ใช้งานหนักเกินไป โรคไขข้ออักเสบ รวมถึง น้ำหนักตัวที่มากเกินไป จากปัจจัยที่กล่าวมาข้างต้น มีเพียงน้ำหนักของร่างกายเท่านั้นที่คุณสามารถควบคุมได้ น้ำหนักตัวมากหรือโรคอ้วนนั้นสามารถทำให้เกิด โรคข้อเข่าเสื่อม หรือโรคที่ผิวข้อกระดูกอ่อนเกิดการสึกหรอ สึกกร่อนจนทำให้เกิดอาการเจ็บปวดตามข้อ และ เข่า ถ้าหากปล่อยไว้นานจนอาการปวดนั้นรุกรามไป อาจจะจบลงด้วยการเดินไม่ได้ หรือ นั่งรถเข็นก็เป็นได้ ดังนั้นโรคนี้จึงไม่อาจเรียกได้ว่าเป็นโรคที่ไกลตัวอีกต่อไปสาเหตุที่น้ำหนักตัวที่มากขึ้นจะยิ่งเสี่ยงต่อการเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมเป็นเพราะ ขณะเดินจะมีแรงผ่านข้อเข่าโดยเฉลี่ย 4-5 เท่าของน้ำหนักตัว เพราะฉะนั้นหากน้ำหนักตัวของคุณมากเกินสมดุลของร่างกาย ข้อเข่าของคุณก็จะต้องรองรับน้ำหนักทั้งหมด ด้วยเหตุนี้น้ำหนักตัวจึงนำมาสู่การสึกหรอของข้อเข่าได้เร็วกว่าปกติ และ ยิ่งไปกว่านั้น ผู้หญิงจะมีโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมมากกว่าผู้ชายสูงถึง 9 เท่า
สำหรับผู้ที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อมในระยะแรกอาการอาจจะยังไม่ส่งสัญญาณที่บ่งบอกชัดเจนนัก หรือ อาจจะเป็นๆหายๆ แต่อย่าได้เพิกเฉยต่ออาการเหล่านี้เพราะเมื่อเป็นแล้วจะไม่สามารถรักษาให้กลับไปดีเหมือนเดิมได้100%โดยเฉพาะผู้สูงอายุ หลายๆท่านจึงควรสังเกตอาการที่อาจเป็นสัญญาณเตือนของโรคข้อเข่าเสื่อมดังนี้o อาการปวดเมื่อย ตึงที่น่อง และ ข้อพับเข่า หรืออาการปวดข้อเข่าo ผิวหนังบริเวณข้อนั้นร้อนหรืออุ่นกว่าอุณหภูมิร่างกายปกติo ข้อขัด ข้อฝืด หรือ เหยียด-งอเข่าได้ไม่สุดo มีเสียงดังเวลาขยับข้อเข่าo ข้อเข่าบวม เพราะน้ำไขข้อมากขึ้นจากอาการอักเสบo มีก้อนถุงน้ำในข้อพับเข่า จากเยื่อบุข้อเข่าแตกออกมาo เข่าคดเข้า เข่าโก่งออกo มีกระดูกงอก ทำให้เข่าผิดรูปร่างสำหรับการรักษาโรคข้อเข่าอักเสบหรือเสื่อมนั้นมีเป้าหมายเดียวกันคือ การบรรเทาอาการปวด และ เพิ่มความแข็งแรงให้กับกล้ามเนื้อ ทำให้เคลื่อนไหวดีขึ้น วิธีการรักษานั้นมีอยู่หลากหลาย อาทิเช่น การปรับเปลี่ยนอิริยาบถ การนั่ง ยืน เดินให้น้ำหนักตัวถ่ายเทไปยังส่วนต่างๆของร่างกายอย่างสมดุล ออกกำลังกาย กายภาพบำบัด การรับประทานยาแก้ปวดเพื่อลดอาหารอักเสบ รวมไปถึงการใช้ชีวิตประจำวันให้ถูกวิธีเพื่อลดแรงกระแทก และ ลดแรงที่กระทำต่อข้อป้องกันไม่ให้ทำงานหนักมากเกินไป
Phyto-Curmin Plus : UCII+Curcumin Extract
Joinfood MD: Collagen Hydrolysate 100%
JOINFOOD DS: Undenatured Collagen Type II
Hi-flex : Rosehip powder
Soy-D-Cal: The Essence of Calcium Function
Deli-D
Deli Cal-D-C1000 : Calcium + Vitamin C D B6
น้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น อาจส่งผลให้ข้อเข่าเสื่อมเร็วขึ้นด้วย
SHARE
โรคข้อเข่าเสื่อมสามารถเกิดได้จากหลากหลายปัจจัยอาทิเช่น พันธุกรรม อายุ เพศ เคยประสบอุบัติเหตุและบาดเจ็บมาก่อน ใช้งานหนักเกินไป โรคไขข้ออักเสบ รวมถึง น้ำหนักตัวที่มากเกินไป จากปัจจัยที่กล่าวมาข้างต้น มีเพียงน้ำหนักของร่างกายเท่านั้นที่คุณสามารถควบคุมได้ น้ำหนักตัวมากหรือโรคอ้วนนั้นสามารถทำให้เกิด โรคข้อเข่าเสื่อม หรือโรคที่ผิวข้อกระดูกอ่อนเกิดการสึกหรอ สึกกร่อนจนทำให้เกิดอาการเจ็บปวดตามข้อ และ เข่า ถ้าหากปล่อยไว้นานจนอาการปวดนั้นรุกรามไป อาจจะจบลงด้วยการเดินไม่ได้ หรือ นั่งรถเข็นก็เป็นได้ ดังนั้นโรคนี้จึงไม่อาจเรียกได้ว่าเป็นโรคที่ไกลตัวอีกต่อไป
สาเหตุที่น้ำหนักตัวที่มากขึ้นจะยิ่งเสี่ยงต่อการเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมเป็นเพราะ ขณะเดินจะมีแรงผ่านข้อเข่าโดยเฉลี่ย 4-5 เท่าของน้ำหนักตัว เพราะฉะนั้นหากน้ำหนักตัวของคุณมากเกินสมดุลของร่างกาย ข้อเข่าของคุณก็จะต้องรองรับน้ำหนักทั้งหมด ด้วยเหตุนี้น้ำหนักตัวจึงนำมาสู่การสึกหรอของข้อเข่าได้เร็วกว่าปกติ และ ยิ่งไปกว่านั้น ผู้หญิงจะมีโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมมากกว่าผู้ชายสูงถึง 9 เท่า
สำหรับผู้ที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อมในระยะแรกอาการอาจจะยังไม่ส่งสัญญาณที่บ่งบอกชัดเจนนัก หรือ อาจจะเป็นๆหายๆ แต่อย่าได้เพิกเฉยต่ออาการเหล่านี้เพราะเมื่อเป็นแล้วจะไม่สามารถรักษาให้กลับไปดีเหมือนเดิมได้100%โดยเฉพาะผู้สูงอายุ หลายๆท่านจึงควรสังเกตอาการที่อาจเป็นสัญญาณเตือนของโรคข้อเข่าเสื่อมดังนี้
o อาการปวดเมื่อย ตึงที่น่อง และ ข้อพับเข่า หรืออาการปวดข้อเข่า
o ผิวหนังบริเวณข้อนั้นร้อนหรืออุ่นกว่าอุณหภูมิร่างกายปกติ
o ข้อขัด ข้อฝืด หรือ เหยียด-งอเข่าได้ไม่สุด
o มีเสียงดังเวลาขยับข้อเข่า
o ข้อเข่าบวม เพราะน้ำไขข้อมากขึ้นจากอาการอักเสบ
o มีก้อนถุงน้ำในข้อพับเข่า จากเยื่อบุข้อเข่าแตกออกมา
o เข่าคดเข้า เข่าโก่งออก
o มีกระดูกงอก ทำให้เข่าผิดรูปร่าง
สำหรับการรักษาโรคข้อเข่าอักเสบหรือเสื่อมนั้นมีเป้าหมายเดียวกันคือ การบรรเทาอาการปวด และ เพิ่มความแข็งแรงให้กับกล้ามเนื้อ ทำให้เคลื่อนไหวดีขึ้น วิธีการรักษานั้นมีอยู่หลากหลาย อาทิเช่น การปรับเปลี่ยนอิริยาบถ การนั่ง ยืน เดินให้น้ำหนักตัวถ่ายเทไปยังส่วนต่างๆของร่างกายอย่างสมดุล ออกกำลังกาย กายภาพบำบัด การรับประทานยาแก้ปวดเพื่อลดอาหารอักเสบ รวมไปถึงการใช้ชีวิตประจำวันให้ถูกวิธีเพื่อลดแรงกระแทก และ ลดแรงที่กระทำต่อข้อป้องกันไม่ให้ทำงานหนักมากเกินไป
ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
Phyto-Curmin Plus : UCII+Curcumin Extract
Joinfood MD: Collagen Hydrolysate 100%
JOINFOOD DS: Undenatured Collagen Type II
Hi-flex : Rosehip powder
Soy-D-Cal: The Essence of Calcium Function
Deli-D
Deli Cal-D-C1000 : Calcium + Vitamin C D B6