Connect with us
02-464-5575
info@nutramedica.co.th
ทราบหรือไม่ว่าโดยเฉลี่ยแล้ว คนเราแต่ละคน มีแคลเซี่ยมเป็นส่วนประกอบในกระดูกประมาณ 1 กิโลกรัม ซึ่งแคลเซี่ยมในกระดูกนี้ มีการไหลเวียนเข้าออกอยู่ตลอดเวลา เราจึงมีความจำเป็นที่จะได้รับแคลเซี่ยมให้เพียงพอในแต่ละวัน สำหรับช่วงอายุ 19-50 ปี จะมีความต้องการแคลเซี่ยมวันละ 1000 มก. ในขณะที่ความต้องการแคลเซี่ยมนี้มากขึ้นใน วันรุ่น (1300 มก ต่อวัน) และผู้สูงอายุ (1200 มก. ต่อวัน) ความสามารถในการดูดซึมแคลเซี่ยม จะสูงสุดในวัยทารก และ ค่อยๆลดลงเมื่ออายุมากขึ้น โดยจะน้อยลงมากในวัยสูงอายุและวัยหมดประจำเดือน ช่วงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการขาดแคลเซี่ยม คือเด็กชาย อายุ 9-13 ปี เด็กหญิง อายุ 9-18 ปี สตรีสูงอายุ มากกว่า 50 ปี และ ชายสูงอายุมากกว่า 70 ปี พบว่า สุภาพสตรีทุกๆ 1 ใน 2 คน มีโอกาสกระดูกหักเนื่องมาจากมีกระดูกพรุน
ร่างกายสามารถดูดซึมแคลเซี่ยมได้ที่ทางเดินอาหาร เฉลี่ยประมาณ 25% ของปริมาณแคลเซี่ยมที่รับประทาน และมีปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมหลายด้าน อาทิ ปริมาณที่รับประทาน, อายุ, สภาพความเป็นกรดของทางเดินอาหาร, อาหารอื่นที่รับประทานร่วมด้วย, ระดับวิตามิน D ของร่างกาย และระดับฮอร์โมน โดยเฉพาะฮอร์โมน เอสโตรเจนในสตรี
Phyto-Curmin Plus : UCII+Curcumin Extract
Joinfood MD: Collagen Hydrolysate 100%
JOINFOOD DS: Undenatured Collagen Type II
Hi-flex : Rosehip powder
Soy-D-Cal: The Essence of Calcium Function
Deli-D
Deli Cal-D-C1000 : Calcium + Vitamin C D B6
ทำความเข้าใจการดูดซึมของแคลเซี่ยมกัน
SHARE
ทราบหรือไม่ว่าโดยเฉลี่ยแล้ว คนเราแต่ละคน มีแคลเซี่ยมเป็นส่วนประกอบในกระดูกประมาณ 1 กิโลกรัม ซึ่งแคลเซี่ยมในกระดูกนี้ มีการไหลเวียนเข้าออกอยู่ตลอดเวลา เราจึงมีความจำเป็นที่จะได้รับแคลเซี่ยมให้เพียงพอในแต่ละวัน สำหรับช่วงอายุ 19-50 ปี จะมีความต้องการแคลเซี่ยมวันละ 1000 มก. ในขณะที่ความต้องการแคลเซี่ยมนี้มากขึ้นใน วันรุ่น (1300 มก ต่อวัน) และผู้สูงอายุ (1200 มก. ต่อวัน) ความสามารถในการดูดซึมแคลเซี่ยม จะสูงสุดในวัยทารก และ ค่อยๆลดลงเมื่ออายุมากขึ้น โดยจะน้อยลงมากในวัยสูงอายุและวัยหมดประจำเดือน ช่วงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการขาดแคลเซี่ยม คือเด็กชาย อายุ 9-13 ปี เด็กหญิง อายุ 9-18 ปี สตรีสูงอายุ มากกว่า 50 ปี และ ชายสูงอายุมากกว่า 70 ปี พบว่า สุภาพสตรีทุกๆ 1 ใน 2 คน มีโอกาสกระดูกหักเนื่องมาจากมีกระดูกพรุน
ร่างกายสามารถดูดซึมแคลเซี่ยมได้ที่ทางเดินอาหาร เฉลี่ยประมาณ 25% ของปริมาณแคลเซี่ยมที่รับประทาน และมีปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมหลายด้าน อาทิ ปริมาณที่รับประทาน, อายุ, สภาพความเป็นกรดของทางเดินอาหาร, อาหารอื่นที่รับประทานร่วมด้วย, ระดับวิตามิน D ของร่างกาย และระดับฮอร์โมน โดยเฉพาะฮอร์โมน เอสโตรเจนในสตรี
เพื่อให้ได้รับแคลเซี่ยมจากการรับประทานได้อย่างเป็นประโยชน์เต็มที่ ควรจะต้องได้รับร่วมกับสารอาหารอื่นที่มีบทบาทร่วมกันดังกล่าวข้างต้น
ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
Phyto-Curmin Plus : UCII+Curcumin Extract
Joinfood MD: Collagen Hydrolysate 100%
JOINFOOD DS: Undenatured Collagen Type II
Hi-flex : Rosehip powder
Soy-D-Cal: The Essence of Calcium Function
Deli-D
Deli Cal-D-C1000 : Calcium + Vitamin C D B6