• HOME
  • ABOUT US
  • PRODUCT
  • BROCHURE
  • HEALTH INFO
  • MEMBER
  • SHOP
Menu
  • HOME
  • ABOUT US
  • PRODUCT
  • BROCHURE
  • HEALTH INFO
  • MEMBER
  • SHOP

Connect with us

02-464-5575

info@nutramedica.co.th

  • HOME
  • ABOUT US
  • PRODUCT

    ผลิตภัณฑ์ทั้งหมด

    ผลิตภัณฑ์ตามหมวดหมู่สุขภาพ

    ไขมันคอเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์
    ดีท็อกซ์ ล้างสารพิษ
    ต้านอนุมูลอิสระ ชะลอวัย
    บำรุงกระดูกและข้อ
    บำรุงสมอง ระบบประสาท
    บำรุงสุขภาพตา
    เพิ่มพลังงาน
    เพิ่มภูมิคุ้มกัน
    ภาวะเครียด ปัญหาการนอน
    ระบบทางเดินอาหาร
    โรคอ้วน และเบาหวาน
    วิตามินและแร่ธาตุรวม
    สุขภาพเด็ก
    สุขภาพผิว ผม เล็บ
    หัวใจ หลอดเลือด
    อื่นๆ
  • BROCHURE
  • HEALTH INFO
  • MEMBER
  • SHOP

คู่มือดูแลข้อสะโพกเสื่อม

SHARE

โรคข้อสะโพกเสื่อมมักพบในกลุ่มผู้สูงอายุ ทั้งเพศชาย และเพศหญิง แต่นอกจากการเสื่อมที่เกิดจากวัยแล้ว ยังมีปัจจัยอื่นๆ ที่ทำให้เกิดการเสื่อมเร็วมากขึ้น เช่น มีความผิดปกติของข้อสะโพกตั้งแต่กำเนิด การรับประทานยาบางชนิด เช่นยาแก้ปวด น้ำหนักตัวที่มาก อุบัติเหตุ รวมถึงการใช้ข้ออย่างหนัก เป็นต้น

อาการของข้อสะโพกเสื่อม
ข้อสะโพกเสื่อมเริ่มแรกจะมีอาการติดขัด ฝืด เดินกระเผลก บริเวณข้อสะโพกในขณะเคลื่อนไหว และอาจตามมาด้วย การเจ็บปวด บวม อักเสบ บริเวณต้นขาด้านนอก บริเวณขาหนีบ หรือต้นขาด้านใน บางรายอาจมีอาการปวดร้าวบริเวณก้น จนทำให้ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ตามปกติ ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ทั้งข้างเดียว หรือสองข้างก็ได้ ซึ่งความเสื่อมของข้อสะโพกนั้น สามารถแบ่งได้เป็น 3 แบบ ดังนี้

  • ข้อสะโพกเสื่อมบริเวณด้านบน และด้านนอก (super lateral) พบได้ในเพศชายมากกว่าเพศหญิง และส่วนมากผู้ป่วยข้อสะโพกเสื่อมจะเป็นที่บริเวณนี้มากถึง 60% เนื่องจากเป็นจุดที่รับน้ำหนักตัวมากที่สุดนั่นเอง
  • ข้อสะโพกเสื่อมบริเวณด้านใน (medial pole) บริเวณด้านในของสะโพก มักจะเกิดับเพศหญิงมากกว่า เพศชาย และพบว่าข้อสะโพกเสื่อมบริเวณนี้ประมาณ 25%
  • ข้อสะโพกเสื่อมบริเวณแนวกระดูกต้นขา (concentric) พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชายเช่นเดียวกัน และมักพบว่าข้อสะโพกเสื่อมบริเวณนี้ประมาณ15%

หลักปฏิบัติขั้นต้นเพื่อชะลอข้อสะโพกเสื่อม
1.หลีกเลี่ยงการงอ หรือบิดสะโพกเกิน 90 องศา
2.หลีกเลี่ยงการนั่งไขว่ห้าง การนั่งยองๆ รวมทั้งไม่ควรนั่งเก้าอี้ที่ต่ำเกินไป หรือโซฟาที่ไม่มีที่พนักแขน เนื่องจากจะทำให้เกิดอาการเกร็งบริเวณข้อสะโพกได้
3.ไม่ควรยืนขาไขว้กัน รวมทั้งยืนขาบิด เพราะจะทำให้เกิดการเกร็งบริเวณข้อสะโพกเช่นกัน
4.หมั่นประคบร้อน ประคบเย็นที่บริเวณข้อสะโพก จะช่วยบรรเทาอาการปวด อาการติดขัดของข้อสะโพก
5.ควบคุมน้ำหนักตัวให้เหมาะสม เพื่อลดการแบกรับน้ำหนักของข้อสะโพกมากเกินไป รวมทั้งอาจใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน และหลีกเลี่ยงการถือ การแบกของหนักด้วย
6.ออกกำลังกายบริเวณข้อสะโพกอย่างถูกวิธี โดยออกกำลังกายเบาๆอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งจะช่วยให้กล้ามเนื้อเกิดพละกำลัง ความยืดหยุ่น และยังเป็นตัวช่วยที่ดีสำหรับการควบคุมน้ำหนัก ช่วยชะลอการติดขัด และความเสื่อมของข้อ เช่นการเต้นแอโรบิคเบาๆ การว่ายน้ำ การเดินบนสายพาน เป็นต้น

ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง

Phyto-Curmin Plus : UCII+Curcumin Extract

Phyto-Curmin Plus : UCII+Curcumin Extract

Joinfood MD: Collagen Hydrolysate 100%

Joinfood MD: Collagen Hydrolysate 100%

JOINFOOD DS: Undenatured Collagen Type II

JOINFOOD DS: Undenatured Collagen Type II

Hi-flex : Rosehip powder

Hi-flex : Rosehip powder

Soy-D-Cal: The Essence of Calcium Function

Soy-D-Cal: The Essence of Calcium Function

Deli-D

Deli-D

Deli Cal-D-C1000 : Calcium + Vitamin C D B6

Deli Cal-D-C1000 : Calcium + Vitamin C D B6

685,687 ถนนบางขุนเทียน-ชายทะเล แขวงแสมดำ
เขตบางขุนเทียน กทม 10150
โทรศัพท์: 02-464-5575 แฟ็กซ์: 02-464-5576
อีเมล์: info@nutramedica.co.th

  • คอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์
  • ดีท็อกซ์ ล้างสารพิษ
  • ต้านอนุมูลอิสระ ชะลอวัย
  • บำรุงกระดูกและข้อ
  • บำรุงสมอง ระบบประสาท
  • สุขภาพตา
  • เพิ่มพลังงาน
  • หัวใจ หลอดเลือด
  • เพิ่มภูมิคุ้มกัน
  • ภาวะเครียด ปัญหาการนอน
  • ระบบทางเดินอาหาร
  • โรคอ้วน และเบาหวาน
  • วิตามินและแร่ธาตุรวม
  • สุขภาพเด็ก
  • สุขภาพผิว ผม เล็บ
  • อื่น ๆ